ความปลอดภัยในการทำงาน
สภาพเศรษฐกจิและสงัคมปัจจุบันทำให้ผู้ประกอบอาชีพ ต้องทำงานในสภาพของการแข่งขัน เร่งรีบ ทำงานแข่งกับเวลา ไม่ว่าจะเป็นงานอาชีพด้านใดก็ตามทุกคนต้องพยายามปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ เจ้าของกิจการมุ่งแต่ผลผลิตจนกระทั่งขาดความสนใจในเรื่องความปลอดภัย ซึ่งเป็นสาเหตุที่ท าให้เกิดอันตรายจากการประสบอุบัติเหตุของคนงาน เกิดการบาดเจ็บ หรือเสี่ยงต่อโรคภยัไขเ้จบ็ ต่างๆ ไดเ้สมอ ทา ใหเ้กดิการเจบ็ ป่วยทุกข์ ทรมานทั้งทางด้า้นรา่งกายและจิตใจจนกระทั่งเสียชีวิตได้ ส่งผลกระทบในระยะยาวถึงครอบครัว สังคมและประเทศชาติต่อไปด้วย นอกจากนัน้ การเจ็บป่วยของผู้ปฏิบตัิงานยงัก่อให้เกิดผลกระทบกับสถานประกอบการเนื่องจากคนที่ประสบอันตรายไม่สามารถมาทำงานได้ ขาดคนทำงาน ทำให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น และทำให้คนงานเสียขวัญและก าลังใจในการทำงานในปัจจุบันสถานประกอบการให้ ความสนใจในการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัยในการทำงานกันมากยิ่งขึ้น และในขณะเดียวกันเจ้าของกิจการก็จะคำนึงถึง
ผลประโยชน์ในด้านการเพิ่ม ผลผลติและการป้องกันหรือลดการสูญเสียของกำลังงานกับวัตถุดิบไปพร้อมกันด้วย ดังนั้นสถานประกอบการหรือเจ้าของกิจการก็จะพยายามพัฒนาแรงงาน ให้เท่าทันเทคโนโลยีและผลักดันให้คนงานเพิ่มขีดความสามารถ ด้วยวิธีการจัดการฝึกอบรมให้การศึกษาอย่างต่อเนื่องและจัดสวัสดิการที่เหมาะสมให้กับคนงานเพิ่มมากขึ้นเพื่อเป็นการลดสถิติการเกิดอุบัติเหตุและความไม่ปลอดภัยในการทำงานลงให้ได้ความหมายของความปลอดภัยในการทำงาน
ความปลอดภัย (Safety) หมายถึง สภาวะการปราศจากภัยหรือการพ้นภัย และรวมถึงปราศจากอันตราย (Danger) การบาดเจ็บ (Injury) การเสี่ยงภัย (risk) และการสูญเสีย (Loss) (Hazard) หมายถึง สภาวการณ์ซึ่งมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดการบาดเจ็บของ
บุคคล หรือเกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน รวมทั้งการกระทบกระเทือนต่อขีดความสามารถในการปฏิบัติงานตามปกติของบุคคลอันตราย (Danger) หมายถึง สภาวะที่เป็นอันตรายไม่ว่าจะอยู่ในระดับของความรุนแรงมากหรอืน้อยขน้ึอยู่กบัสภาพของการท างานและการป้องกนั เช่น การท างานบนที่
สูง ซึ่งถือว่าเป็นสภาพการณ์ที่มีความเสี่ยงที่จะมีโอกาสเกิดอันตรายขึ้นได้ถ้าหากเกิด
ความผิดพลาดเกิดขึ้น และอาจท าให้เกิดการบาดเจ็บหรือถึงกับชีวิตได้อุบัตการณ์(Incident) หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่ปรารถนาจะให้เกิดขึ้น แต่เมื่อเกิดขึ้นจะทำให้เกิดการสูญเสียตามมาอีกมากมาย เช่น งานซ่อมบำรุงเครื่องจักรต้องการเปลี่ยนชิ้นส่วนอะไหล่ตามกำหนด แต่ปรากฏว่าได้อะไหล่ไม่ครบทำให้งานล่าช้าและเป็นผลเสียกับระบบอุบบัติเหตุ(Accident) หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่มีใครคาดคิด ไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น ไม่สามารถควบคุมได้ และหลีกเลี่ยงไม่ได้ขณะนั้น ทำให้เกิดความเสียหาย ส่งผลกระทบต่อทั้งตัวเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม และประเทศชาติความปลอดภยัในการทำงาน คือ การปฏิบัติงานให้สำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายโดยปราศจากเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความเสียหาย การสูญเสียทั้งบุคคลและทรัพย์สินการบาดเจบ็ ป่วยเป็นโรคจนถึงขั้นเสียชีวิตอุบัติภัยในการทำงาน หมายถึง ภัยและความเสียหายอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดมาก่อน ทำให้ผู้ปฏิบัติงาน บาดเจ็บ สูญเสียทรัพย์สิน พิการหรือเสียชีวิตความสำคัญของความปลอดภัยในการท างานสถิติของคนท างานที่ต้องประสบอุบัติการณ์เกิดการบาดเจ็บ สูญเสียทรัพย์สินเงินทอง อวัยวะ จนกระทั่งถึงชีวิตจากการประกอบอาชีพนั้นมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี สาเหตุเนื่องมาจากลักษณะของงานที่ท า อัตราเสี่ยง สภาพการท างานที่เร่งรีบ การท างานบนที่สูง หรือในหน่วยงานใดก็ตาม ตั้งแต่ปี พ.ศ.2535 แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีก าลังแรงงานรวมถึง 33 ล้านคน เป็นผู้มีงานท า 30 ล้านคน เป็นผู้ที่อยู่ในภาคเกษตรกรรม 18 ล้านคน นอกภาคเกษตรกรรม 12 ล้านคน ซึ่งเป็นลูกจ้างเอกชน 5.8 ล้านคน และเป็นข้าราชการและลูกจ้าง 1.7 ล้านคน (กิตติ ปทุมแก้ว, 2536: 2) และจากสถิติการประสบอันตรายจากการท างานของแรงงานของสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการท างาน (ประเทศไทย) ในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมาดังนี้
ตารางที่ 2 สถิติการประสบอันตรายรอบปี พ.ศ.2534-2538
แหล่งที่มาของข้อมูลสถิติ: สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการท างานจะเห็นได้ว่าอัตราความสูญเสียของผู้ประสบอันตรายในรอบ 5 ปี (ประเทศไทย)ตามตารางนั้น มีอัตราเฉลี่ยประมาณไม่น้อยกว่า 4.4 ต่อปี และนอกจากนั้นแล้วยังมีการสูญเสียอย่างต่อเนื่องสัมพันธ์ถึงทรัพย์สินของผู้ประกอบการ สูญเสียบุคคลที่เป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่ง รวมไปถึงครอบครัว เศรษฐกิจ สังคมและประเทศชาติ ซึ่งคิดเป็นมูลค่ามหาศาล ดังนั้นผู้เกี่ยวข้องจึงจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษาวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการเกดิ ความสญู เสยีดงักล่าว เพ่อืหาแนวทางในการควบคุมป้องกนัและแก้ไขให้กับผู้ประกอบอาชีพ ให้สามารถทำงานได้อย่างมีความสุข มีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาให้
ก้าวหน้ายิ่งขึ้นไปอันจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติต่อไปการสูญเสียเนื่องจากการทำงาน
ประเทศไทยเป็นประเทศที่กำลังพัฒนา ทำให้เกิดมีโรงงานอุตสาหกรรมทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่เกิดขึ้นมากมาย การลงทุนเกี่ยวกับงานด้านความปลอดภัยในการทำงานจึงเป็นเรื่องที่ท าได้ไม่มากเท่าที่ควร เนื่องจากมีการลงทุนค่อนข้างสูงและผลที่ได้รับคืนมาไม่เห็นเป็นปริมาณหรือตัวเลขอย่างชัดเจน โรงงานขนาดเล็กไม่สามารถลงทุนด้านความปลอดภัยได้และยังไม่เห็นถึงความส าคัญของงานด้านความปลอดภัยอีกด้วย ท าให้ไม่มีการบันทึกข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการด้านความปลอดภัย จึงไม่สามารถวิเคราะห์ถึงสาเหตุและแนวทางการแก้ไข สาเหตุของความไม่ปลอดภัยได้เลย จากการสรุปของบทความ “อารยะ” ทางเศรษฐกิจสู่ “หายนะ” ของแรงงานไทย ซึ่ง รศ.ดร.วรวิทย์ เจริญเลิศ ได้กล่าวถึงการวัดความส าเร็จของการพัฒนาโดยการพิจารณาจากการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP: Gross Domestic Product) หรือรายได้ประชาชาติเพียงอย่างเดียว อาจจะไม่ได้สะท้อนตัวเลขแท้จริงเพราะยังไม่ได้นับรวมต้นทุนทางสังคม (ปญัญหาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ) ซึ่งต้นทุนเหล่านี้เป็น “ต้นทุนแอบแฝง” ภายใต้กระบวนการเร่งรัดการพัฒนาอุตสาหกรรม รวมทั้งผลกระทบทางด้านคุณภาพชีวิตและจิตใจ ซึ่งไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้ ทำให้เกิดเหตุการณ์โศกนาฏกรรมแรงงานที่ยังเกิดซ้ำซาก แม้ว่าทางรัฐบาลจะจัดตั้งกระทรวง
แรงงาน ออกกฎหมายและระเบียบของกระทรวงในการคุ้มครองแก่คนงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีกองทุนเงินทดแทน การประกันสังคมและกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทำงาน รวมทั้งการจัดตั้งสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตลอดจนกองตรวจโรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม แต่ก็ยังไม่สามารถป้องกันปัญหาได้ดังเช่นเหตุการณ์ตั้งแต่ปีพ.ศ.2536 จนถึงปัจจุบันมีข่าวที่สร้างความสะเทือนขวัญไปทั่วโลก ได้แก่ กรณีไฟไหม้โรงงานเคเดอร์ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2536) มีคนหนุ่มสาวเสียชีวิตถึง 188 ราย และบาดเจ็บกว่า 400 ราย กรณีโรงแรมรอยัลพลาซ่าถล่ม (13 สิงหาคม 2538) มีผู้เสียชีวิต 157 ราย บาดเจ็บกว่า 200 ราย กรณีไฟไหม้โรงแรมรอยัลจอมเทียนรีสอร์ท (11 กรกฎาคม 2540) มีผู้เสียชีวิตรวม 91 ราย บาดเจ็บกว่า 50 ราย และกรณีโรงงานอบล าไย บริษัท หงส์ไทยเกษตรพัฒนา จ ากัด เกิดระเบิด (19 กันยายน 2542) ท าให้มีผู้เสียชีวิต 36 ราย บาดเจ็บสาหัส 2 ราย ชุมชนบริเวณรอบโรงงานรัศมี 1 กิโลเมตร ได้รับความเสียหาย 571 หลังคาเรือน ชาวบ้านบาดเจ็บ 160 ราย และสถิติจากส านักงานกองทุนเงินทดแทน พบว่าในเดือนพฤษภาคม 2547 ที่ประสบอันตรายเนื่องจากการท างาน รวมทั้งสิ้น 215,534 ราย ในจ านวนนี้เสียชีวิตถึง 600 ราย และการประสบอันตรายของคนงานก็ยังคงเพิ่มสูงขึ้น
อย่างต่อเนื่อง เมื่อคิดอัตราการประสบอันตรายในทุกกรณีเฉลี่ยที่ 45 คนจากอัตราลูกจ้าง 1,000 คน ในปี 2535-2539 ส่วนหลังจากปี 2540 เป็นต้นมา พบว่าอัตราการประสบอันตรายจากการท างานมีแนวโน้มลดลงเท่ากับ 39.5 ในปี พ.ศ.2540 มีค่าเท่ากับ 36.25 ในปี พ.ศ.2541 มีค่าเท่ากับ 32.3 ในปี พ.ศ.2542 และ 29.9 ในปี พ.ศ.2546 เนื่องจากเกิดภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจภายในประเทศ และเปรียบเทียบกับสถิติการประสบอันตรายจากการท างานกับประเทศสหรัฐอเมริกาหรืออังกฤษจะเห็นว่ามีอัตราการประสบอันตรายจากการทำงานอยู่ที่ระดับต่ำกว่า 10 คนต่อจำนวนลูกจ้าง 1,000 คน แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยยังมีอัตราการประสบอันตรายจากการทำงานในระดับที่ค่อนข้างสูงมาก นอกจากนั้นยังแสดงให้เห็นถึงการประสบอันตรายจากการทำงานต่อมิติทางเพศไว้ดังนี้คือ ลูกจ้างที่ประสบอันตรายจากการท างานในปี พ.ศ.2547 จ านวนทั้งหมด 215,534 คน แยกเป็นชาย
172,691 คน และหญิง 42,834 คน หรืออาจสรุปว่าคนงานชายประสบอันตรายจากการท างานมากกว่าคนงานหญิงถึง 3 เท่าในแต่ละปีและปัญหาทต่ีามมาก็คือ การจัดการกับปัญหาครอบครัวที่ต่างกัน ถ้าในกรณีที่เป็นผู้หญิงจะสามารถจัดการกับปัญหาครอบครวัได้ดีกว่า จะเห็นความสำคัญของการศึกษาของเด็กกับอนาคตแต่ก็ต้องทำงานหนักเพื่อหารายได้ให้เพียงพอกับรายจ่ายของครอบครัวที่จะต้องเป็นทั้งแม่และพ่อในขณะเดียวกัน ในกรณีที่เป็นผู้ชายก็ต้องมีบทบาทรับผิดชอบเป็นทั้งพ่อและแม่ เลี้ยงดูครอบครัวและลูกในขณะเดียวกันนั้นมักจะมีโอกาสที่จะทำให้ครอบครัวแตกแยกเกิดขึ้นได้ ในกรณีพ่อติดเหล้า ทิ้งลูก แต่งงานใหม่ หรือส่งลูกให้ยายหรือย่าเป็นผู้รับผิดชอบแทน หรืออาจถูกปลดออกจากงานเน่ืองจากสาเหตุของการเจ็บ ป่วยจากการทำงานกลายเป็นคนตกงานอย่างถาวร
ไม่สามารถหางานในระบบไดต้อ้งเผชิญ กับปัญหาทางสังคม กลายเป็น “คนชายขอบของ
สังคม” ที่ต้องเผชิญกับทัศนคติในทางลบของคนในสังคมความสูญเสียเนื่องจากอุบัติเหตุจากการทำงานสามารถจำแนกออกเป็น 2 ส่วน คือ ความสูญเสียทางตรง ได้แก่ การรักษาพยาบาลและการทดแทน กับความสูญเสียทางอ้อมหรือความสูญเสียแฝงเร้น ซึ่งเฮนริค (Heinrich): 1959 ได้กล่าวถึงความสูญเสียแฝงเร้นว่าประกอบด้วย
ความสูญเสียแฝงเร้นประกอบด้วย
1. ค่าความสูญเสียเวลาของผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ
2. ค่าความสูญเสียบุคคลที่ต้องหยุดงานเนื่องจากความอยากรู้อยากเห็น ความ
สงสัยการนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลและอื่นๆ
3. ค่าความสูญเสียหัวหน้างาน ผู้ควบคุมงานและผู้จัดการในเรื่องการช่วยเหลือ
ผู้บาดเจ็บ การคัดเลือกและฝึกอบรมพนักงานใหม่ การจัดทำรายงานอุบัติเหตุ
4. ค่าความสูญเสียเวลาในการปฐมพยาบาลและเจ้าหน้าที่สถานพยาบาลต่างๆ
5. ค่าความสูญเสียเนื่องจากเครื่องจักรชำรุด หรือทรัพย์สินอื่นๆ เสียหาย
6. ค่าความสูญเสียที่ำให้การผลิตต้องชะงัก ไม่สามารถจัดส่งสินค้าได้ตาม
กำหนดเวลา ไม่ได้รับเงินรางวัล
7. ค่าใช้จ่ายที่นายจ้างต้องสูญเสียเป็นค่าสวัสดิการแก่ลูกจ้าง
8. ค่าจ้างที่นายจ้างต้องจ่ายเต็มให้กับ คนงานลูกจ้างที่เพิ่งหายจากการเจ็บป่วย
ซึ่งอาจจะยังทำงานได้ไม่เต็มความสามารถ
9. ค่าความสูญเสียผลกำไรที่จะพึงได้จากผลผลิตของคนงานและเครื่องจักรที่ไม่มี
คนงานผู้ใช้
10. ค่าความสูญเสียที่พนักงานเสียขวัญจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
11. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ซึ่งในการดำเนินโครงการด้านความปลอดภัยในเชิงธุรกิจนั้นต้องการค่าของ
ผลตอบแทนที่คุ้มค่ามากที่สุด และต้องมีการควบคุมค่าใช้จ่ายต่างๆ อย่างรอบคอบ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยที่อาจเกิดเหตุการณ์ความ
เสียหายที่ไม่สามารถคิดคำนวณออกมาเป็นตัวเลขหรือตัวเงินได้กับค่าใช้จ่ายที่ต้องสูญเสีย
ไปเพื่อการป้องกันมิให้เกิดความไม่ปลอดภัยจากการทำงาน ได้แก่
1. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการน าเอาระบบความปลอดภัยเข้ามาใช้ (Pro-active costs)
เป็นค่าใช้จ่ายในการวางแผนก าหนดมาตรการด้านการป้องกนัเพอ่ืมใิหเ้กดิโรค หรอืความ
ไม่ปลอดภัยจากการท างานของหน่วยงาน ซึ่งสามารถค านวณออกมาเป็นตัวเลขหรือ
จ านวนเงนิได้เช่น ค่าใชจ้่ายในการตดิ ตงั้ระบบควบคุมป้องกนัเหตุอนั ตรายต่างๆ ค่าจา้ง
หรือเงินเดือนเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ค่าอุปกรณ์ รวมทั้งเงินกองทุนทดแทนที่ต้องจ่าย
เป็นต้น
2. ค่าใช้จ่ายที่ต้องสูญเสียเนื่องจากรักษาพยาบาลของพนักงานคนงานที่เป็นโรค
หรืออุบัติเหตุ ความไม่ปลอดภัยจากการท างาน (Re-active costs) ซึ่งอาจคิดค านวณเป็น
ตัวเลขหรือจ านวนเงินได้ (Tangible costs) เช่น ความเสียหายเกี่ยวกับเครื่องจักรกล
อาคารสถานที่ ผลผลิตขณะเกิดอุบัติเหตุ ค่าชดเชย ค่าปรับให้กับกองทุน ค่าใช้จ่ายในการ
ฟื้นฟูสมรรถภาพ และนอกจากนั้นยังมีค่าใช้จ่ายหรือความสูญเสียที่ไม่สามารถบอกเป็น
ตัวเลขออกมาได้ (Intangible costs) เช่น เวลาที่เสียไปในช่วงของการเกิดเหตุการณ์ไม่
ปลอดภัย ขวัญก าลังใจของคนงาน ภาพพจน์ของสถานประกอบการ การฟื้นสภาพการ
ท างานให้เป็นไปตามปกติ ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมให้ความรู้ความเข้าใจ หรืออบรม
พนักงานทดแทน
ในการค านวณอัตราส่วนของค่าความสูญเสียทางอ้อมและทางตรง ว่ามี
ค่าประมาณ 4:1 ต่อมา ดี รีมี (Dee Reame) 1980 ได้อ้างถึงการศึกษาจากนักวิชาการว่า
อัตราส่วนนั้นจะอยู่ระหว่าง 2.3:1 ถึง 101:1 ซึ่งอาจเปรียบได้เหมือนภูเขาน ้าแข็งใน
มหาสมุทร จะมีส่วนที่โผล่พ้นน ้าขึ้นมาที่เปรียบเหมือนค่าความสูญเสียทางตรงที่เรา
สามารถรับสัมผัสได้โดยตรง กับส่วนที่จมอยู่ในน ้าเปรียบเหมือนกับว่าค่าความสูญเสีย
ทางอ้อม ที่บุคคลมักจะไม่ค่อยค านึงถึงหรือมักจะมองข้ามความส าคัญไป และมีค่า
มากกว่าส่วนที่โผล่ขึ้นเหนือน ้า (ชัยยุทธ ชวลิตนิธิกุล, 2532: 9-10)
ภูเขาน ้าแข็ง : ความเสียหายจากอุบัติเหตุที่เห็นได้ชัดเจนมีเพียง 1 ส่วน อีก 4 ส่วนเป็นความ
เสียหายที่ไม่สามารถค านวณได้ที่มา
ปัญหาการประสบอันตรายจากการท างาน
การประสบอนั ตรายจากการท างานนัน้ มปีจัจยัส าคญั ท่เีก่ียวขอ้งกันตลอดเวลา
ได้แก่
1. ตัวบุคคล คือ ผู้ประกอบการลูกจ้างและบุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท างาน
ซึ่งเป็นตัวสาเหตุใหญ่ที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุหรืออันตรายจากการท างาน โดยอาจจะเกิดจาก
การขาดความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการท างานอย่างปลอดภัย ขาดความตระหนักถึง
ความส าคัญของสุขภาพ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่อาจจะยังขาดทักษะในการตรวจบังคับ
ให้ถูกต้องตามกฎหมาย
2. สิ่งแวดล้อม คือ ตัวองค์กรหรือสถานประกอบการ สภาพของการท างานที่มี
องค์ประกอบต่างๆ เพื่อให้มีการด าเนินงานได้โดยรอบตัวของผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้ง
กฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ ทั้งในสถานประกอบการและของหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่
รบั ผดิ ชอบยงัขาดเอกภาพทเ่ีด่นชดั และบางครงั้ไม่เอ้อือ านวยต่อการป้องกนั ควบคุมทม่ีี
ประสิทธิภาพ
3. อุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือ คือ วัสดุอุปกรณ์ที่จ าเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน
ในสถานประกอบการเพ่อืการผลติและบรรลุเป้าหมายในการท างาน ซึ่งอาจเสื่อมสภาพ
ขาดการตรวจสอบดูแลบ ารุงรักษา ขาดการควบคุมดูแลให้ปฏิบัติตามค าแนะน า ขาดการ
จัดระเบียบ เป็นต้น
มาตรการในการแก้ปัญหาการประสบอันตรายจากการท างาน
เพื่อให้การท างานของแรงงานได้รับความปลอดภัยสูงสุดและลดการเกิดอุบัติเหตุ
จากการท างาน ลดความสูญเสียจากการเกิดอุบัติเหตุ จึงจ าเป็นที่จะต้องมีมาตรการ
กา หนดเพอ่ืการป้องกนัและแกป้ ญั หาต่างๆ เกดิขน้ึ
การสอบสวนอบุ ตัิเหตุ(Accident Investigation)
การเกิดเหตุอันตรายหรืออุบัติเหตุทุกครั้งมีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการ
สอบสวนหาสาเหตุที่แท้จริง และมีการบันทึกรายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นข้อมูล
แนวทางในการก าหนดมาตรการการป้องกนัอย่างไดผ้ล ซง่ึวตัถุประสงค์ของการสอบสวน
ดังนี้
1. เพื่อการค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของการเกิดอุบัติเหตุและสภาพอันตรายต่างๆ
สา หรบัเป็นแนวทางการป้องกนัและการแกไ้ขอยา่ งถูกตอ้ง
2. เพ่อืคน้ หาความจรงิขอการกระท าทไ่ีม่ถูกต้องตามกฎขอ้ บงัคบั หรอืการฝ่าฝืน
ระเบียบซึ่งเป็นสาเหตุท าให้เกิดอุบัติเหตุ
3. เพื่อการเปรียบเทียบการท างานที่เปลี่ยนแปลงว่ามีการแจ้งให้ทราบล่วงหน้า
หรือไม่
4. เพื่อให้ทราบผลของความเสียหายอันเนื่องมาจากอันตรายที่เกิดอุบัติเหตุ
เกดิ การบาดเจบ็ ในการกระตุน้ เตอืนใหผ้ ูท้ เ่ีกย่ีวขอ้งทุกฝ่ายหนั มาเหน็ ความสา คญั ใส่ใจ
ในการป้องกนัอนัตรายจากอุบตัเิหตุ
5. เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติ เป็นประโยชน์ต่อการวิเคราะห์และสอบสวน
อุบัติเหตุ และความไม่ปลอดภัย
ในการสอบสวนอุบัติเหตุนั้นต้องค านึงถึงสาเหตุทางสภาวะแวดล้อมและพฤติกรรม
ของบุคคลซึ่งได้ปรับปรุงแนวทางการค้นหาสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุมาจาก ASA
Standard Z16.2 (1962) เป็นรูปแบบของ “Method of Recording Basic Facts Relating
to Nature and Occurrence of work Injuries”
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ 7 ประการ ดังนี้
1. ลักษณะของการบาดเจ็บ (Nature of injuries)
2. อวัยวะของร่างกายที่ได้รับผลกระทบ (Part of body affected)
3. จุดที่ท าให้เกิดการบาดเจ็บ (Source of injuries)
4. ชนิดของอุบัติเหตุ (Accident type)
5. สภาพของอันตราย (Hazardous conditions)
6. แหล่งก าหนดอุบัติเหตุ (Agency of accident)
7. การกระท าที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe act)
เมื่อทราบสาเหตุดังกล่าวแล้วจึงน ามาเป็นแนวทางในการสร้างแบบส ารวจ
ตรวจสอบด้านความปลอดภัยในการท างานโดยเฉพาะงานอุตสาหกรรม ซึ่งได้รูปแบบเป็น
มาตรฐานเดียวกัน สามารถน าไปใช้ในการตรวจสอบเปรียบเทียบด้านความปลอดภัยได้
ตลอดเวลา
การตรวจสอบความปลอดภัย (Safety Inspection)
ค้นหาสาเหตุของอนั ตรายเพ่อืเป็นแนวทางการก าหนดมาตรการในการป้องกนั
ซึ่งอาจเป็นวิธีการที่เป็นทางการหรือโดยบุคลากรในองค์กรที่มีประสบการณ์และตระหนัก
ถึงความส าคัญของความปลอดภัยที่จะร่วมมือกันในการสังเกต ตรวจตรา เอาใจใส่ถึงสิ่ง
ผิดปกติความบกพร่องที่อาจเกิดมีขึ้นในการท างานก็ได้ซึ่งโดยทั่วไปจะมีแบบส ารวจเพื่อ
การตรวจสอบ และแจ้งผลไปยังผู้เกี่ยวข้อง หัวหน้างาน ผู้จัดการ หรือคณะกรรมการความ
ปลอดภัยของหน่วยงานเพื่อการแก้ไข ดังหัวข้อส าคัญๆ ดังนี้
1. เรื่องความเป็นระเบียบเรียบร้อย และความสะดวกของสถานที่
2. การจัดสุขาภิบาลโดยทั่วไป
3. เครอ่ืงมอื อุปกรณ์ไฟฟ้า
4. เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ลมความดันสูง
5. เครนหรอืปนั้จนั่ ทใ่ีชใ้นการเคลอ่ืนยา้ยหรอืยกสงิ่ ของหนกั
6. อุปกรณ์ในการยกหรือขนถ่ายวัสดุ
7. สัญญาณเตือนภัย เครื่องดับเพลิง ทางหนีไฟและประตูหนีภัย
8. สภาพแวดล้อมในการท างาน เช่น ความร้อน แสง เสียง การระบายอากาศ ความชื้น
9. เครื่องจักรขนาดใหญ่
10. เครื่องมือช่างทั้งหลาย
11. ทางเดิน บันได ทางออก
12. สัญลักษณ์ด้านความปลอดภัย
13. อุปกรณ์ปฐมพยาบาลและอุปกรณ์ช่วยชีวิต
14. อุปกรณ์ป้องกนัอนัตรายสว่ นบุคคล
ทฤษฎีแนวคิดการเกิดอบุ ตัิเหตุ
1. ทฤษฎีโดมิโน (Domino Theory) ในปี ค.ศ.1931 นายเฮนริค (Heinrich) ได้
ค้นพบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการเกิดอุบัติเหตุในงานอุตสาหกรรมว่าสาเหตุของการเกิด
อุบัติเหตุเกิดจากการกระท าของคนเป็นส่วนใหญ่ร้อยละ 88 และเกิดจากสภาพที่ไม่
ปลอดภัยร้อยละ 12 และพยายามหาแนวทางในการป้องกนัอุบตัเิหตุด้วยการปรบั ปรุง
สภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยนั้น ท าให้แนวคิดของเขาเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป และใช้
เป็นเครื่องมือในการสอบสวนและตรวจสอบอุบัติเหตุ โดยใช้หลักของโดมิโน กล่าวคือ การ
บาดเจ็บและความเสียหายต่างๆ เป็นผลสืบเนื่องมาจากอุบัติเหตุหรือการกระท าที่ไม่
ปลอดภัย ซึ่งสามารถเปรียบเทียบได้กับตัวโดมิโนที่ตั้งเรียงกันอยู่ 5 ตัว เมื่อตัวที่ 1 ล้ม
กย็่อมท าใหไ้ปกระทบตวัต่อไปและลม้ ตามกนัไปดว้ ย เวน้ เสยีแต่ว่าจะป้องกนัโดยการดงึ
เอาตัวโดมิโนตัวใดตัวหนึ่งออกท าให้ตัวที่ล้มก่อนหน้านั้นส่งผลกระทบมาไม่ถึงตัวต่อไป
ก็จะไม่ล้มตามไปด้วย เปรียบเสมือนอุบัติเหตุการบาดเจ็บและความเสียหาย ซึ่งสามารถ
อธิบายได้ดังนี้
โดมิโนตัวที่ 1 บรรพบุรุษและสิ่งแวดล้อมทางสังคม (Ancestry and Social
Environment) หมายถึง สิ่งแวดล้อมทางสังคมและการประพฤติปฏิบัติสืบทอดกันมาจาก
อดีตท าให้แต่ละคนมีพฤติกรรมที่แตกต่างกันออกไป เช่น ความประมาทเลินเล่อ ความ
สะเพร่า การขาดความคิดไตร่ตรอง ความดื้อรั้น ดันทุรัง ความชอบในการเสี่ยงอันตราย
ความตระหนี่ และลักษณะอื่นๆ ที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
โดมิโนตัวที่ 2 ความบกพร่องและความผิดพลาดของคน (Falt of Person)
สุขภาพจิตและสิ่งแวดล้อมทางสังคม เป็นสาเหตุท าให้เกิดความผิดพลาดของคน เช่น การ
ท างานที่ขาดสติขาดความยั้งคิด อารมณ์รุนแรง ประสาทอ่อนไหวง่าย ตื่นเต้น ขาดความ
รอบคอบ ละเลยต่อการกระท าที่ปลอดภัย เป็นต้น
โดมิโนตัวที่ 3 การกระท าและสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe act and
Condition) การกระท าที่ไม่ปลอดภัย เช่น การยืนท างานภายใต้น ้าหนักที่แขวนอยู่ การ
ติดตั้งเครื่องยนต์โดยไม่มีการแจ้งเตือน การหยอกล้อกันในขณะท างาน เป็นต้น และ
สภาพแวดลอ้ มทไ่ีมป่ ลอดภยั เชน่ ขาดเครอ่ืงป้องกนัจุดอนั ตราย หรอืไมม่ รีวั้กนัจุดทม่ีกีาร
เคลื่อนที่ เสียงดังเกิน แสงสว่างไม่เพียงพอ การระบายอากาศไม่ดี เป็นต้น
โดมิโนตัวที่ 4 การเกิดอุบัติเหตุ (Accident) เป็นเหตุการณ์ท่ีเกิดจากปจัจยั ทงั้
3 ระดับมาแล้ว ส่งผลกระทบให้เกิดอุบัติการณ์ เช่น การตกจากที่สูง ลื่นหกล้ม เดินสะดุด
สิ่งของตกมาจากที่สูง วัตถุกระเด็นใส่ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการบาดเจ็บ
โดมิโนตัวที่ 5 การบาดเจ็บหรือพิการ (Injury/Damage) คือการบาดเจ็บที่อาจเกิด
กับร่างกาย เกิดบาดแผล การฉีกขาดของเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ หรือกระดูกหัก ที่เป็นผล
โดยตรงมาจากอุบัติเหตุ จนถึงขั้นพิการได้
การดึงตัวใดตัวหนึ่งออกท าให้โดมิโนตัวถัดไปไม่ล้ม ที่มา :
2. ทฤษฎีมูลเหตุเชิงซ้อน (Multiple Causation Theory) ถึงแม้ทฤษฎีโดมิโนของ
(Heinrich) จะใช้ป้องกนัแก้ไขการเกดิอุบตัเิหตุได้แต่ความถ่ีและความรุนแรงยงัไม่เป็น
ศูนย์ การมองอุบัติเหตุยังไม่ครอบคลุมลึกลงไปถึงสาเหตุที่แท้จริงต่างๆ จึงท าได้เพียงการ
แก้ไขสภาพการกระท าของคน ดังนั้นจึงมีการเสนอทฤษฎีมูลเหตุเชิงซ้อนของ แดน
ปีเตอร์สัน (Dan Peterson) 1971 จากหนังสือเรียนเทคนิคของการจัดการความปลอดภัย
(Technique of safety Management) ซึ่งกล่าวไว้ว่า อุบัติเหตุย่อมเกิดขึ้นได้จากเหตุ
ต่างๆ หลายอย่างซึ่งอยู่เบื้องหลัง และสาเหตุต่างๆ เหล่านั้นรวมกันมากเข้าย่อมท าให้เกิด
อุบัติเหตุได้ นอกจากนั้นยังได้เสนอว่าไม่ควรแก้ไขสภาพและการกระท าที่ไม่ปลอดภัย
เท่านั้น จะต้องคิดแก้ไขเบื้องหลังของสิ่งเหล่านั้น นอกจากนั้นยังแสดงให้เห็นว่าสภาพและ
การกระท าเป็นเพียงอาการที่ปรากฏให้เห็นได้จากความบกพร่องของระบบการท างาน แต่
ความบกพร่องหรือสาเหตุที่แท้จริงที่ท าให้เกิดอุบัติเหตุ คือ การบริหารและการจัดการ
ตัวอย่างเช่น อุบัติเหตุเกิดจากการตกบันไดของอาคารเรียนที่โรงเรียน หากเป็นการ
สอบสวนอุบัติเหตุตามแนวของทฤษฎีโดมิโนก็คือ
การกระท าที่ไม่ปลอดภัย คือ การใช้บันไดที่มีขั้นบันไดช ารุด
สภาพไม่ปลอดภัย คือ บันไดที่มีขั้นช ารุด
ข้อเสนอแนะในการแก้ไข คือ ก าจัดบันไดขั้นช ารุด ไม่น ามาใช้อีก
แต่ถ้าเป็นทฤษฎีมูลเหตุเชิงซ้อน อาจมีการวิเคราะห์สาเหตุของอุบัติเหตุโดยใช้
ค าถามว่า
1. ท าไมไม่มีการตรวจบันไดที่ช ารุดในขณะที่มีการตรวจปกติ
2. ท าไมยังปล่อยให้มีการใช้บันใดนี้
3. คนที่ตกบันไดหรือผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุนั้นรู้หรือไม่ว่าเขาไม่ควรใช้บันไดนี้
4. มีการจัดการอบรมเรื่องความปลอดภัยหรือไม่
5. ผู้เกี่ยวข้องยังคงไม่ใช้บันไดนั้นอีกหรือไม่
6. ผู้ควบคุมดูแลการท างานได้มีการตรวจสภาพแวดล้อมก่อนลงมือท างานหรือไม่
เมื่อได้มีการพิจารณาอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นท าให้ทราบถึงความบกพร่องต่างๆ ที่ท าให้
เป็นสาเหตุของอุบัติเหตุนั้น แล้วควรสรุปว่าควรแก้ไขดังนี้
1. ควรปรับปรุงการตรวจความปลอดภัย
2. ควรปรับปรุงการฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงาน
3. ควรก าหนดงานความรับผิดชอบให้ชัดเจน
4. ควรมีการวางแผน การนิเทศ การควบคุมการท างาน
โดยสรุปทฤษฎมีลู เหตุเชงิซอ้ นนนั้ เน้นการป้องกนัอุบตัเิหตุโดยการบรหิารจดัการ
โดยจัดให้มีองค์กรความปลอดภัย
สาเหตขุ องการเกิดอบุ ตัิเหตุจากการท างาน
อุบัติเหตุจากการท างานนั้นสามารถแบ่งออกเป็น 2 สาเหตุใหญ่ๆ คือ
1. สาเหตุจากการปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe act) เป็นการกระท าที่ไม่
ปลอดภัยของคนงานในขณะปฏิบัติงานเป็นผลท าให้เกิดอุบัติเหตุได้ถึงร้อยละ 88 ของ
อุบัติเหตุ เช่น
1.1 การใช้อุปกรณ์เครื่องมือที่เป็นเครื่องจักรกลต่างๆ โดยพลการหรือไม่
ได้รับมอบหมาย
1.2 การท างานที่มีอัตราเร่งความเร็วของงานและเครื่องจักรเกินก าหนด
1.3 การถอดอุปกรณ์ป้องกนัออกจากเครอ่ืงจกัรโดยไมม่ เีหตุอนัสมควร
1.4 การดูแลซ่อมบ ารุงอุปกรณ์เครื่องจักรในขณะที่ก าลังท างาน
1.5 การใช้เครื่องมืออุปกรณ์เครื่องจักรที่ช ารุดและไม่ถูกวิธี
1.6 ไม่ใส่ใจในค าแนะน าหรือค าเตือนความปลอดภัย
1.7 ท าการเคลื่อนย้ายหรือยกวัสดุที่มีขนาดใหญ่ มีน ้าหนักมาก ด้วยท่าทาง
หรือวิธีการที่ไม่ปลอดภัย
1.8 ไมส่ วมใสอ่ ุปกรณ์ป้องกนัอนัตรายสว่ นบุคคล
1.9 การคึกคะนองหรือเล่นตลกขณะท างาน
2. สภาพการท างานที่ไม่ปลอดภัย คือสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยโดยรอบตัว
ของผู้ปฏิบัติงานขณะท างานซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุได้ เช่น
2.1 เครอ่ืงจกัรทไ่ีมม่ อีุปกรณ์ป้องกนัอนัตราย
2.2 อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องจักรที่ออกแบบไม่เหมาะสมกับการใช้งาน
2.3 บริเวณพื้นที่ของการปฏิบัติงานไม่เหมาะสม
2.4 การจัดเก็บวัสดุสิ่งของอย่างไม่ถูกวิธี
2.5 การจัดเก็บสารเคมีหรือสารไวไฟที่เป็นอันตรายไม่ถูกวิธี
2.6 ไม่มีการจัดระเบียบและดูแลความสะดวกของสถานที่ท างานให้ถูกต้อง
ตามสุขลักษณะ
2.7 แสงสว่างไม่เพียงพอ
2.8 ไม่มีระบบระบายและถ่ายเทอากาศที่เหมาะสม
2.9 ไม่มีระบบเตือนภัยที่เหมาะสม
สาเหตขุ องการเกิดอบุ ตัิเหตุ
แนวทางการป้ องกันการประสบอันตราย
สถานประกอบการที่มีผู้ปฏิบัติงานทุกแห่ง จ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ความคุ้มครอง
ดูแล ส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนมีจิตส านึกในความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยเพื่อให้
สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีความสุขอยู่ในสังคมและสิ่งแวดล้อมร่วมกันได้อย่างสันติ
โดยปราศจากอันตรายใดๆ โดยการก าหนดมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายท่ี
เหมาะสมชัดเจนดังต่อไปนี้คือ
1. การก าหนดมาตรการความปลอดภัย โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการท างาน
ควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวข้องและผลกระทบต่างๆ ด้านความปลอดภัย เพื่อเป็นแนวทาง
ก าหนดมาตรฐานด้านความปลอดภัย เพื่อเป็นแนวทางส าหรับผู้เกี่ยวข้องในการก าหนด
ระเบียบปฏิบัติด้านความปลอดภัยของหน่วยงานอย่างชัดเจนเหมาะสม เช่น มาตรฐานใน
การผลิตอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ส าหรับงานอุตสาหกรรม การก าหนดหลักการปฏิบัติ
2. การตรวจความปลอดภัย โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจัดให้มีเจ้าหน้าที่เพื่อท า
การตรวจด้านความปลอดภัยในการท างานตามที่ระบุไว้ตามกฎหมายอย่างเหมาะสม
ถูกต้อง เพื่อเป็นกฎข้อบังคับให้กับนายจ้าง สถานประกอบการให้ยึดปฏิบัติตามกฎหมาย
ความปลอดภัยและรับผิดชอบต่อสุขภาพและความปลอดภัยของคนงาน และให้ค าแนะน า
กระตุ้นการปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยอย่างสม ่าเสมอ
3. กฎหมายความปลอดภัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะอย่างยิ่งกรมแรงงาน
ควรได้มีการพิจารณาปรับปรุงกฎหมายด้านความปลอดภัยในการท างานให้มีขอบเขต
สอดคล้องเหมาะสมและคุ้มครองแรงงานได้อย่างเหมาะสมและมีการบังคับใช้อย่างจริงจัง
ทั้งทางด้านสภาพการท างานและสภาพแวดล้อมในการท างานของสถานประกอบการ
ด้านค่าตอบแทน การรักษาพยาบาล การตรวจสุขภาพ สวัสดิการต่างๆ เพื่อให้เกิดความ
ปลอดภัยในการท างานมากยิ่งขึ้น
4. การศึกษาวิจัยความปลอดภัย เพื่อการปรับปรุง พัฒนา งานวิชาการด้านความ
ปลอดภัยให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยสูงสุด
5. ด้านการศึกษา สถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการท างาน
ควรมีการบรรจุวิชาการด้านความปลอดภัยเพิ่มในหลักสูตรการศึกษา เพื่อเป็นการวาง
พื้นฐานและสร้างทัศนคติที่ดีด้านความปลอดภัยให้เกิดมีขึ้นในผู้ศึกษาก่อนที่จะออกไปสู่
ตลาดแรงงาน
6. การฝึกอบรมด้านความปลอดภัย เพื่อสร้างเสริมความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
ดา้นความปลอดภยัในการป้องกนัอนั ตรายทอ่ีาจเกดิ ขน้ึระหว่างการปฏบิ ตังิาน พรอ้ มทงั้
สร้างจิตส านึกด้านความปลอดภัยให้เกิดมีขึ้นกับผู้ใช้แรงงานทุกคนทุกระดับ
7. การสร้างเสริมทัศนคติด้านความปลอดภัย ทุกองค์กรหน่วยงานควรจัดให้มีการ
รณรงค์ การสร้างเสริมทัศนคติที่ดี และจิตส านึกด้านความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง
สม ่าเสมอ
8. การก าหนดมาตรการความปลอดภัยในสถานประกอบการ เพื่อให้ทุกคนทุก
ฝ่ายปฏิบัติอย่างเคร่งครดั โดยมีการแต่งตัง้เจ้าหน้าท่ีหรือคณะกรรมการด้านความ
ปลอดภัยในการก าหนดกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์การ
ท างานอย่างต่อเนื่อง
9. การปรับปรุงสภาพการท างานและสิ่งแวดล้อมในการท างาน สถานประกอบการ
ควรมีการด าเนินการอย่างจริงจังเกี่ยวกับการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการท างาน เพื่อให้
เกิดความปลอดภัย เพื่อด ารงรักษาไว้ซึ่งการมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
เช่น การจัดระเบียบการท างานให้ถูกสุขลักษณะมีความปลอดภัยและสวัสดิการที่ดีขึ้น
10. การประกันการประสบอุบัติเหตุ หน่วยงานหรือสถาบันด้านการประกันการ
ประสบอันตรายควรมีส่วนร่วมในการส่งเสรมิ มาตรการการป้องกนัอุบตัเิหตุและโรคจาก
การท างานและเป็นการปฏิบัติอย่างจริงจัง
ขอบคุณข้อมูล อ้างอิงจาก
ผลประโยชน์ในด้านการเพิ่ม ผลผลติและการป้องกันหรือลดการสูญเสียของกำลังงานกับวัตถุดิบไปพร้อมกันด้วย ดังนั้นสถานประกอบการหรือเจ้าของกิจการก็จะพยายามพัฒนาแรงงาน ให้เท่าทันเทคโนโลยีและผลักดันให้คนงานเพิ่มขีดความสามารถ ด้วยวิธีการจัดการฝึกอบรมให้การศึกษาอย่างต่อเนื่องและจัดสวัสดิการที่เหมาะสมให้กับคนงานเพิ่มมากขึ้นเพื่อเป็นการลดสถิติการเกิดอุบัติเหตุและความไม่ปลอดภัยในการทำงานลงให้ได้ความหมายของความปลอดภัยในการทำงาน
ความปลอดภัย (Safety) หมายถึง สภาวะการปราศจากภัยหรือการพ้นภัย และรวมถึงปราศจากอันตราย (Danger) การบาดเจ็บ (Injury) การเสี่ยงภัย (risk) และการสูญเสีย (Loss) (Hazard) หมายถึง สภาวการณ์ซึ่งมีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดการบาดเจ็บของ
บุคคล หรือเกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน รวมทั้งการกระทบกระเทือนต่อขีดความสามารถในการปฏิบัติงานตามปกติของบุคคลอันตราย (Danger) หมายถึง สภาวะที่เป็นอันตรายไม่ว่าจะอยู่ในระดับของความรุนแรงมากหรอืน้อยขน้ึอยู่กบัสภาพของการท างานและการป้องกนั เช่น การท างานบนที่
สูง ซึ่งถือว่าเป็นสภาพการณ์ที่มีความเสี่ยงที่จะมีโอกาสเกิดอันตรายขึ้นได้ถ้าหากเกิด
ความผิดพลาดเกิดขึ้น และอาจท าให้เกิดการบาดเจ็บหรือถึงกับชีวิตได้อุบัตการณ์(Incident) หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่ปรารถนาจะให้เกิดขึ้น แต่เมื่อเกิดขึ้นจะทำให้เกิดการสูญเสียตามมาอีกมากมาย เช่น งานซ่อมบำรุงเครื่องจักรต้องการเปลี่ยนชิ้นส่วนอะไหล่ตามกำหนด แต่ปรากฏว่าได้อะไหล่ไม่ครบทำให้งานล่าช้าและเป็นผลเสียกับระบบอุบบัติเหตุ(Accident) หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่มีใครคาดคิด ไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น ไม่สามารถควบคุมได้ และหลีกเลี่ยงไม่ได้ขณะนั้น ทำให้เกิดความเสียหาย ส่งผลกระทบต่อทั้งตัวเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม และประเทศชาติความปลอดภยัในการทำงาน คือ การปฏิบัติงานให้สำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายโดยปราศจากเหตุการณ์ที่ทำให้เกิดความเสียหาย การสูญเสียทั้งบุคคลและทรัพย์สินการบาดเจบ็ ป่วยเป็นโรคจนถึงขั้นเสียชีวิตอุบัติภัยในการทำงาน หมายถึง ภัยและความเสียหายอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดมาก่อน ทำให้ผู้ปฏิบัติงาน บาดเจ็บ สูญเสียทรัพย์สิน พิการหรือเสียชีวิตความสำคัญของความปลอดภัยในการท างานสถิติของคนท างานที่ต้องประสบอุบัติการณ์เกิดการบาดเจ็บ สูญเสียทรัพย์สินเงินทอง อวัยวะ จนกระทั่งถึงชีวิตจากการประกอบอาชีพนั้นมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี สาเหตุเนื่องมาจากลักษณะของงานที่ท า อัตราเสี่ยง สภาพการท างานที่เร่งรีบ การท างานบนที่สูง หรือในหน่วยงานใดก็ตาม ตั้งแต่ปี พ.ศ.2535 แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีก าลังแรงงานรวมถึง 33 ล้านคน เป็นผู้มีงานท า 30 ล้านคน เป็นผู้ที่อยู่ในภาคเกษตรกรรม 18 ล้านคน นอกภาคเกษตรกรรม 12 ล้านคน ซึ่งเป็นลูกจ้างเอกชน 5.8 ล้านคน และเป็นข้าราชการและลูกจ้าง 1.7 ล้านคน (กิตติ ปทุมแก้ว, 2536: 2) และจากสถิติการประสบอันตรายจากการท างานของแรงงานของสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการท างาน (ประเทศไทย) ในรอบ 5 ปี ที่ผ่านมาดังนี้
ตารางที่ 2 สถิติการประสบอันตรายรอบปี พ.ศ.2534-2538
แหล่งที่มาของข้อมูลสถิติ: สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการท างานจะเห็นได้ว่าอัตราความสูญเสียของผู้ประสบอันตรายในรอบ 5 ปี (ประเทศไทย)ตามตารางนั้น มีอัตราเฉลี่ยประมาณไม่น้อยกว่า 4.4 ต่อปี และนอกจากนั้นแล้วยังมีการสูญเสียอย่างต่อเนื่องสัมพันธ์ถึงทรัพย์สินของผู้ประกอบการ สูญเสียบุคคลที่เป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่ง รวมไปถึงครอบครัว เศรษฐกิจ สังคมและประเทศชาติ ซึ่งคิดเป็นมูลค่ามหาศาล ดังนั้นผู้เกี่ยวข้องจึงจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษาวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการเกดิ ความสญู เสยีดงักล่าว เพ่อืหาแนวทางในการควบคุมป้องกนัและแก้ไขให้กับผู้ประกอบอาชีพ ให้สามารถทำงานได้อย่างมีความสุข มีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาให้
ก้าวหน้ายิ่งขึ้นไปอันจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติต่อไปการสูญเสียเนื่องจากการทำงาน
ประเทศไทยเป็นประเทศที่กำลังพัฒนา ทำให้เกิดมีโรงงานอุตสาหกรรมทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่เกิดขึ้นมากมาย การลงทุนเกี่ยวกับงานด้านความปลอดภัยในการทำงานจึงเป็นเรื่องที่ท าได้ไม่มากเท่าที่ควร เนื่องจากมีการลงทุนค่อนข้างสูงและผลที่ได้รับคืนมาไม่เห็นเป็นปริมาณหรือตัวเลขอย่างชัดเจน โรงงานขนาดเล็กไม่สามารถลงทุนด้านความปลอดภัยได้และยังไม่เห็นถึงความส าคัญของงานด้านความปลอดภัยอีกด้วย ท าให้ไม่มีการบันทึกข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการด้านความปลอดภัย จึงไม่สามารถวิเคราะห์ถึงสาเหตุและแนวทางการแก้ไข สาเหตุของความไม่ปลอดภัยได้เลย จากการสรุปของบทความ “อารยะ” ทางเศรษฐกิจสู่ “หายนะ” ของแรงงานไทย ซึ่ง รศ.ดร.วรวิทย์ เจริญเลิศ ได้กล่าวถึงการวัดความส าเร็จของการพัฒนาโดยการพิจารณาจากการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP: Gross Domestic Product) หรือรายได้ประชาชาติเพียงอย่างเดียว อาจจะไม่ได้สะท้อนตัวเลขแท้จริงเพราะยังไม่ได้นับรวมต้นทุนทางสังคม (ปญัญหาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ) ซึ่งต้นทุนเหล่านี้เป็น “ต้นทุนแอบแฝง” ภายใต้กระบวนการเร่งรัดการพัฒนาอุตสาหกรรม รวมทั้งผลกระทบทางด้านคุณภาพชีวิตและจิตใจ ซึ่งไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้ ทำให้เกิดเหตุการณ์โศกนาฏกรรมแรงงานที่ยังเกิดซ้ำซาก แม้ว่าทางรัฐบาลจะจัดตั้งกระทรวง
แรงงาน ออกกฎหมายและระเบียบของกระทรวงในการคุ้มครองแก่คนงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีกองทุนเงินทดแทน การประกันสังคมและกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทำงาน รวมทั้งการจัดตั้งสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตลอดจนกองตรวจโรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม แต่ก็ยังไม่สามารถป้องกันปัญหาได้ดังเช่นเหตุการณ์ตั้งแต่ปีพ.ศ.2536 จนถึงปัจจุบันมีข่าวที่สร้างความสะเทือนขวัญไปทั่วโลก ได้แก่ กรณีไฟไหม้โรงงานเคเดอร์ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2536) มีคนหนุ่มสาวเสียชีวิตถึง 188 ราย และบาดเจ็บกว่า 400 ราย กรณีโรงแรมรอยัลพลาซ่าถล่ม (13 สิงหาคม 2538) มีผู้เสียชีวิต 157 ราย บาดเจ็บกว่า 200 ราย กรณีไฟไหม้โรงแรมรอยัลจอมเทียนรีสอร์ท (11 กรกฎาคม 2540) มีผู้เสียชีวิตรวม 91 ราย บาดเจ็บกว่า 50 ราย และกรณีโรงงานอบล าไย บริษัท หงส์ไทยเกษตรพัฒนา จ ากัด เกิดระเบิด (19 กันยายน 2542) ท าให้มีผู้เสียชีวิต 36 ราย บาดเจ็บสาหัส 2 ราย ชุมชนบริเวณรอบโรงงานรัศมี 1 กิโลเมตร ได้รับความเสียหาย 571 หลังคาเรือน ชาวบ้านบาดเจ็บ 160 ราย และสถิติจากส านักงานกองทุนเงินทดแทน พบว่าในเดือนพฤษภาคม 2547 ที่ประสบอันตรายเนื่องจากการท างาน รวมทั้งสิ้น 215,534 ราย ในจ านวนนี้เสียชีวิตถึง 600 ราย และการประสบอันตรายของคนงานก็ยังคงเพิ่มสูงขึ้น
อย่างต่อเนื่อง เมื่อคิดอัตราการประสบอันตรายในทุกกรณีเฉลี่ยที่ 45 คนจากอัตราลูกจ้าง 1,000 คน ในปี 2535-2539 ส่วนหลังจากปี 2540 เป็นต้นมา พบว่าอัตราการประสบอันตรายจากการท างานมีแนวโน้มลดลงเท่ากับ 39.5 ในปี พ.ศ.2540 มีค่าเท่ากับ 36.25 ในปี พ.ศ.2541 มีค่าเท่ากับ 32.3 ในปี พ.ศ.2542 และ 29.9 ในปี พ.ศ.2546 เนื่องจากเกิดภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจภายในประเทศ และเปรียบเทียบกับสถิติการประสบอันตรายจากการท างานกับประเทศสหรัฐอเมริกาหรืออังกฤษจะเห็นว่ามีอัตราการประสบอันตรายจากการทำงานอยู่ที่ระดับต่ำกว่า 10 คนต่อจำนวนลูกจ้าง 1,000 คน แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยยังมีอัตราการประสบอันตรายจากการทำงานในระดับที่ค่อนข้างสูงมาก นอกจากนั้นยังแสดงให้เห็นถึงการประสบอันตรายจากการทำงานต่อมิติทางเพศไว้ดังนี้คือ ลูกจ้างที่ประสบอันตรายจากการท างานในปี พ.ศ.2547 จ านวนทั้งหมด 215,534 คน แยกเป็นชาย
172,691 คน และหญิง 42,834 คน หรืออาจสรุปว่าคนงานชายประสบอันตรายจากการท างานมากกว่าคนงานหญิงถึง 3 เท่าในแต่ละปีและปัญหาทต่ีามมาก็คือ การจัดการกับปัญหาครอบครัวที่ต่างกัน ถ้าในกรณีที่เป็นผู้หญิงจะสามารถจัดการกับปัญหาครอบครวัได้ดีกว่า จะเห็นความสำคัญของการศึกษาของเด็กกับอนาคตแต่ก็ต้องทำงานหนักเพื่อหารายได้ให้เพียงพอกับรายจ่ายของครอบครัวที่จะต้องเป็นทั้งแม่และพ่อในขณะเดียวกัน ในกรณีที่เป็นผู้ชายก็ต้องมีบทบาทรับผิดชอบเป็นทั้งพ่อและแม่ เลี้ยงดูครอบครัวและลูกในขณะเดียวกันนั้นมักจะมีโอกาสที่จะทำให้ครอบครัวแตกแยกเกิดขึ้นได้ ในกรณีพ่อติดเหล้า ทิ้งลูก แต่งงานใหม่ หรือส่งลูกให้ยายหรือย่าเป็นผู้รับผิดชอบแทน หรืออาจถูกปลดออกจากงานเน่ืองจากสาเหตุของการเจ็บ ป่วยจากการทำงานกลายเป็นคนตกงานอย่างถาวร
ไม่สามารถหางานในระบบไดต้อ้งเผชิญ กับปัญหาทางสังคม กลายเป็น “คนชายขอบของ
สังคม” ที่ต้องเผชิญกับทัศนคติในทางลบของคนในสังคมความสูญเสียเนื่องจากอุบัติเหตุจากการทำงานสามารถจำแนกออกเป็น 2 ส่วน คือ ความสูญเสียทางตรง ได้แก่ การรักษาพยาบาลและการทดแทน กับความสูญเสียทางอ้อมหรือความสูญเสียแฝงเร้น ซึ่งเฮนริค (Heinrich): 1959 ได้กล่าวถึงความสูญเสียแฝงเร้นว่าประกอบด้วย
ความสูญเสียแฝงเร้นประกอบด้วย
1. ค่าความสูญเสียเวลาของผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ
2. ค่าความสูญเสียบุคคลที่ต้องหยุดงานเนื่องจากความอยากรู้อยากเห็น ความ
สงสัยการนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลและอื่นๆ
3. ค่าความสูญเสียหัวหน้างาน ผู้ควบคุมงานและผู้จัดการในเรื่องการช่วยเหลือ
ผู้บาดเจ็บ การคัดเลือกและฝึกอบรมพนักงานใหม่ การจัดทำรายงานอุบัติเหตุ
4. ค่าความสูญเสียเวลาในการปฐมพยาบาลและเจ้าหน้าที่สถานพยาบาลต่างๆ
5. ค่าความสูญเสียเนื่องจากเครื่องจักรชำรุด หรือทรัพย์สินอื่นๆ เสียหาย
6. ค่าความสูญเสียที่ำให้การผลิตต้องชะงัก ไม่สามารถจัดส่งสินค้าได้ตาม
กำหนดเวลา ไม่ได้รับเงินรางวัล
7. ค่าใช้จ่ายที่นายจ้างต้องสูญเสียเป็นค่าสวัสดิการแก่ลูกจ้าง
8. ค่าจ้างที่นายจ้างต้องจ่ายเต็มให้กับ คนงานลูกจ้างที่เพิ่งหายจากการเจ็บป่วย
ซึ่งอาจจะยังทำงานได้ไม่เต็มความสามารถ
9. ค่าความสูญเสียผลกำไรที่จะพึงได้จากผลผลิตของคนงานและเครื่องจักรที่ไม่มี
คนงานผู้ใช้
10. ค่าความสูญเสียที่พนักงานเสียขวัญจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
11. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ซึ่งในการดำเนินโครงการด้านความปลอดภัยในเชิงธุรกิจนั้นต้องการค่าของ
ผลตอบแทนที่คุ้มค่ามากที่สุด และต้องมีการควบคุมค่าใช้จ่ายต่างๆ อย่างรอบคอบ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยที่อาจเกิดเหตุการณ์ความ
เสียหายที่ไม่สามารถคิดคำนวณออกมาเป็นตัวเลขหรือตัวเงินได้กับค่าใช้จ่ายที่ต้องสูญเสีย
ไปเพื่อการป้องกันมิให้เกิดความไม่ปลอดภัยจากการทำงาน ได้แก่
1. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการน าเอาระบบความปลอดภัยเข้ามาใช้ (Pro-active costs)
เป็นค่าใช้จ่ายในการวางแผนก าหนดมาตรการด้านการป้องกนัเพอ่ืมใิหเ้กดิโรค หรอืความ
ไม่ปลอดภัยจากการท างานของหน่วยงาน ซึ่งสามารถค านวณออกมาเป็นตัวเลขหรือ
จ านวนเงนิได้เช่น ค่าใชจ้่ายในการตดิ ตงั้ระบบควบคุมป้องกนัเหตุอนั ตรายต่างๆ ค่าจา้ง
หรือเงินเดือนเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ค่าอุปกรณ์ รวมทั้งเงินกองทุนทดแทนที่ต้องจ่าย
เป็นต้น
2. ค่าใช้จ่ายที่ต้องสูญเสียเนื่องจากรักษาพยาบาลของพนักงานคนงานที่เป็นโรค
หรืออุบัติเหตุ ความไม่ปลอดภัยจากการท างาน (Re-active costs) ซึ่งอาจคิดค านวณเป็น
ตัวเลขหรือจ านวนเงินได้ (Tangible costs) เช่น ความเสียหายเกี่ยวกับเครื่องจักรกล
อาคารสถานที่ ผลผลิตขณะเกิดอุบัติเหตุ ค่าชดเชย ค่าปรับให้กับกองทุน ค่าใช้จ่ายในการ
ฟื้นฟูสมรรถภาพ และนอกจากนั้นยังมีค่าใช้จ่ายหรือความสูญเสียที่ไม่สามารถบอกเป็น
ตัวเลขออกมาได้ (Intangible costs) เช่น เวลาที่เสียไปในช่วงของการเกิดเหตุการณ์ไม่
ปลอดภัย ขวัญก าลังใจของคนงาน ภาพพจน์ของสถานประกอบการ การฟื้นสภาพการ
ท างานให้เป็นไปตามปกติ ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมให้ความรู้ความเข้าใจ หรืออบรม
พนักงานทดแทน
ในการค านวณอัตราส่วนของค่าความสูญเสียทางอ้อมและทางตรง ว่ามี
ค่าประมาณ 4:1 ต่อมา ดี รีมี (Dee Reame) 1980 ได้อ้างถึงการศึกษาจากนักวิชาการว่า
อัตราส่วนนั้นจะอยู่ระหว่าง 2.3:1 ถึง 101:1 ซึ่งอาจเปรียบได้เหมือนภูเขาน ้าแข็งใน
มหาสมุทร จะมีส่วนที่โผล่พ้นน ้าขึ้นมาที่เปรียบเหมือนค่าความสูญเสียทางตรงที่เรา
สามารถรับสัมผัสได้โดยตรง กับส่วนที่จมอยู่ในน ้าเปรียบเหมือนกับว่าค่าความสูญเสีย
ทางอ้อม ที่บุคคลมักจะไม่ค่อยค านึงถึงหรือมักจะมองข้ามความส าคัญไป และมีค่า
มากกว่าส่วนที่โผล่ขึ้นเหนือน ้า (ชัยยุทธ ชวลิตนิธิกุล, 2532: 9-10)
ภูเขาน ้าแข็ง : ความเสียหายจากอุบัติเหตุที่เห็นได้ชัดเจนมีเพียง 1 ส่วน อีก 4 ส่วนเป็นความ
เสียหายที่ไม่สามารถค านวณได้ที่มา
ปัญหาการประสบอันตรายจากการท างาน
การประสบอนั ตรายจากการท างานนัน้ มปีจัจยัส าคญั ท่เีก่ียวขอ้งกันตลอดเวลา
ได้แก่
1. ตัวบุคคล คือ ผู้ประกอบการลูกจ้างและบุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการท างาน
ซึ่งเป็นตัวสาเหตุใหญ่ที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุหรืออันตรายจากการท างาน โดยอาจจะเกิดจาก
การขาดความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการท างานอย่างปลอดภัย ขาดความตระหนักถึง
ความส าคัญของสุขภาพ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่อาจจะยังขาดทักษะในการตรวจบังคับ
ให้ถูกต้องตามกฎหมาย
2. สิ่งแวดล้อม คือ ตัวองค์กรหรือสถานประกอบการ สภาพของการท างานที่มี
องค์ประกอบต่างๆ เพื่อให้มีการด าเนินงานได้โดยรอบตัวของผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้ง
กฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ ทั้งในสถานประกอบการและของหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่
รบั ผดิ ชอบยงัขาดเอกภาพทเ่ีด่นชดั และบางครงั้ไม่เอ้อือ านวยต่อการป้องกนั ควบคุมทม่ีี
ประสิทธิภาพ
3. อุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือ คือ วัสดุอุปกรณ์ที่จ าเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน
ในสถานประกอบการเพ่อืการผลติและบรรลุเป้าหมายในการท างาน ซึ่งอาจเสื่อมสภาพ
ขาดการตรวจสอบดูแลบ ารุงรักษา ขาดการควบคุมดูแลให้ปฏิบัติตามค าแนะน า ขาดการ
จัดระเบียบ เป็นต้น
มาตรการในการแก้ปัญหาการประสบอันตรายจากการท างาน
เพื่อให้การท างานของแรงงานได้รับความปลอดภัยสูงสุดและลดการเกิดอุบัติเหตุ
จากการท างาน ลดความสูญเสียจากการเกิดอุบัติเหตุ จึงจ าเป็นที่จะต้องมีมาตรการ
กา หนดเพอ่ืการป้องกนัและแกป้ ญั หาต่างๆ เกดิขน้ึ
การสอบสวนอบุ ตัิเหตุ(Accident Investigation)
การเกิดเหตุอันตรายหรืออุบัติเหตุทุกครั้งมีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการ
สอบสวนหาสาเหตุที่แท้จริง และมีการบันทึกรายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นข้อมูล
แนวทางในการก าหนดมาตรการการป้องกนัอย่างไดผ้ล ซง่ึวตัถุประสงค์ของการสอบสวน
ดังนี้
1. เพื่อการค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของการเกิดอุบัติเหตุและสภาพอันตรายต่างๆ
สา หรบัเป็นแนวทางการป้องกนัและการแกไ้ขอยา่ งถูกตอ้ง
2. เพ่อืคน้ หาความจรงิขอการกระท าทไ่ีม่ถูกต้องตามกฎขอ้ บงัคบั หรอืการฝ่าฝืน
ระเบียบซึ่งเป็นสาเหตุท าให้เกิดอุบัติเหตุ
3. เพื่อการเปรียบเทียบการท างานที่เปลี่ยนแปลงว่ามีการแจ้งให้ทราบล่วงหน้า
หรือไม่
4. เพื่อให้ทราบผลของความเสียหายอันเนื่องมาจากอันตรายที่เกิดอุบัติเหตุ
เกดิ การบาดเจบ็ ในการกระตุน้ เตอืนใหผ้ ูท้ เ่ีกย่ีวขอ้งทุกฝ่ายหนั มาเหน็ ความสา คญั ใส่ใจ
ในการป้องกนัอนัตรายจากอุบตัเิหตุ
5. เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติ เป็นประโยชน์ต่อการวิเคราะห์และสอบสวน
อุบัติเหตุ และความไม่ปลอดภัย
ในการสอบสวนอุบัติเหตุนั้นต้องค านึงถึงสาเหตุทางสภาวะแวดล้อมและพฤติกรรม
ของบุคคลซึ่งได้ปรับปรุงแนวทางการค้นหาสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุมาจาก ASA
Standard Z16.2 (1962) เป็นรูปแบบของ “Method of Recording Basic Facts Relating
to Nature and Occurrence of work Injuries”
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ 7 ประการ ดังนี้
1. ลักษณะของการบาดเจ็บ (Nature of injuries)
2. อวัยวะของร่างกายที่ได้รับผลกระทบ (Part of body affected)
3. จุดที่ท าให้เกิดการบาดเจ็บ (Source of injuries)
4. ชนิดของอุบัติเหตุ (Accident type)
5. สภาพของอันตราย (Hazardous conditions)
6. แหล่งก าหนดอุบัติเหตุ (Agency of accident)
7. การกระท าที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe act)
เมื่อทราบสาเหตุดังกล่าวแล้วจึงน ามาเป็นแนวทางในการสร้างแบบส ารวจ
ตรวจสอบด้านความปลอดภัยในการท างานโดยเฉพาะงานอุตสาหกรรม ซึ่งได้รูปแบบเป็น
มาตรฐานเดียวกัน สามารถน าไปใช้ในการตรวจสอบเปรียบเทียบด้านความปลอดภัยได้
ตลอดเวลา
การตรวจสอบความปลอดภัย (Safety Inspection)
ค้นหาสาเหตุของอนั ตรายเพ่อืเป็นแนวทางการก าหนดมาตรการในการป้องกนั
ซึ่งอาจเป็นวิธีการที่เป็นทางการหรือโดยบุคลากรในองค์กรที่มีประสบการณ์และตระหนัก
ถึงความส าคัญของความปลอดภัยที่จะร่วมมือกันในการสังเกต ตรวจตรา เอาใจใส่ถึงสิ่ง
ผิดปกติความบกพร่องที่อาจเกิดมีขึ้นในการท างานก็ได้ซึ่งโดยทั่วไปจะมีแบบส ารวจเพื่อ
การตรวจสอบ และแจ้งผลไปยังผู้เกี่ยวข้อง หัวหน้างาน ผู้จัดการ หรือคณะกรรมการความ
ปลอดภัยของหน่วยงานเพื่อการแก้ไข ดังหัวข้อส าคัญๆ ดังนี้
1. เรื่องความเป็นระเบียบเรียบร้อย และความสะดวกของสถานที่
2. การจัดสุขาภิบาลโดยทั่วไป
3. เครอ่ืงมอื อุปกรณ์ไฟฟ้า
4. เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ลมความดันสูง
5. เครนหรอืปนั้จนั่ ทใ่ีชใ้นการเคลอ่ืนยา้ยหรอืยกสงิ่ ของหนกั
6. อุปกรณ์ในการยกหรือขนถ่ายวัสดุ
7. สัญญาณเตือนภัย เครื่องดับเพลิง ทางหนีไฟและประตูหนีภัย
8. สภาพแวดล้อมในการท างาน เช่น ความร้อน แสง เสียง การระบายอากาศ ความชื้น
9. เครื่องจักรขนาดใหญ่
10. เครื่องมือช่างทั้งหลาย
11. ทางเดิน บันได ทางออก
12. สัญลักษณ์ด้านความปลอดภัย
13. อุปกรณ์ปฐมพยาบาลและอุปกรณ์ช่วยชีวิต
14. อุปกรณ์ป้องกนัอนัตรายสว่ นบุคคล
ทฤษฎีแนวคิดการเกิดอบุ ตัิเหตุ
1. ทฤษฎีโดมิโน (Domino Theory) ในปี ค.ศ.1931 นายเฮนริค (Heinrich) ได้
ค้นพบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการเกิดอุบัติเหตุในงานอุตสาหกรรมว่าสาเหตุของการเกิด
อุบัติเหตุเกิดจากการกระท าของคนเป็นส่วนใหญ่ร้อยละ 88 และเกิดจากสภาพที่ไม่
ปลอดภัยร้อยละ 12 และพยายามหาแนวทางในการป้องกนัอุบตัเิหตุด้วยการปรบั ปรุง
สภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยนั้น ท าให้แนวคิดของเขาเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป และใช้
เป็นเครื่องมือในการสอบสวนและตรวจสอบอุบัติเหตุ โดยใช้หลักของโดมิโน กล่าวคือ การ
บาดเจ็บและความเสียหายต่างๆ เป็นผลสืบเนื่องมาจากอุบัติเหตุหรือการกระท าที่ไม่
ปลอดภัย ซึ่งสามารถเปรียบเทียบได้กับตัวโดมิโนที่ตั้งเรียงกันอยู่ 5 ตัว เมื่อตัวที่ 1 ล้ม
กย็่อมท าใหไ้ปกระทบตวัต่อไปและลม้ ตามกนัไปดว้ ย เวน้ เสยีแต่ว่าจะป้องกนัโดยการดงึ
เอาตัวโดมิโนตัวใดตัวหนึ่งออกท าให้ตัวที่ล้มก่อนหน้านั้นส่งผลกระทบมาไม่ถึงตัวต่อไป
ก็จะไม่ล้มตามไปด้วย เปรียบเสมือนอุบัติเหตุการบาดเจ็บและความเสียหาย ซึ่งสามารถ
อธิบายได้ดังนี้
โดมิโนตัวที่ 1 บรรพบุรุษและสิ่งแวดล้อมทางสังคม (Ancestry and Social
Environment) หมายถึง สิ่งแวดล้อมทางสังคมและการประพฤติปฏิบัติสืบทอดกันมาจาก
อดีตท าให้แต่ละคนมีพฤติกรรมที่แตกต่างกันออกไป เช่น ความประมาทเลินเล่อ ความ
สะเพร่า การขาดความคิดไตร่ตรอง ความดื้อรั้น ดันทุรัง ความชอบในการเสี่ยงอันตราย
ความตระหนี่ และลักษณะอื่นๆ ที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
โดมิโนตัวที่ 2 ความบกพร่องและความผิดพลาดของคน (Falt of Person)
สุขภาพจิตและสิ่งแวดล้อมทางสังคม เป็นสาเหตุท าให้เกิดความผิดพลาดของคน เช่น การ
ท างานที่ขาดสติขาดความยั้งคิด อารมณ์รุนแรง ประสาทอ่อนไหวง่าย ตื่นเต้น ขาดความ
รอบคอบ ละเลยต่อการกระท าที่ปลอดภัย เป็นต้น
โดมิโนตัวที่ 3 การกระท าและสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe act and
Condition) การกระท าที่ไม่ปลอดภัย เช่น การยืนท างานภายใต้น ้าหนักที่แขวนอยู่ การ
ติดตั้งเครื่องยนต์โดยไม่มีการแจ้งเตือน การหยอกล้อกันในขณะท างาน เป็นต้น และ
สภาพแวดลอ้ มทไ่ีมป่ ลอดภยั เชน่ ขาดเครอ่ืงป้องกนัจุดอนั ตราย หรอืไมม่ รีวั้กนัจุดทม่ีกีาร
เคลื่อนที่ เสียงดังเกิน แสงสว่างไม่เพียงพอ การระบายอากาศไม่ดี เป็นต้น
โดมิโนตัวที่ 4 การเกิดอุบัติเหตุ (Accident) เป็นเหตุการณ์ท่ีเกิดจากปจัจยั ทงั้
3 ระดับมาแล้ว ส่งผลกระทบให้เกิดอุบัติการณ์ เช่น การตกจากที่สูง ลื่นหกล้ม เดินสะดุด
สิ่งของตกมาจากที่สูง วัตถุกระเด็นใส่ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการบาดเจ็บ
โดมิโนตัวที่ 5 การบาดเจ็บหรือพิการ (Injury/Damage) คือการบาดเจ็บที่อาจเกิด
กับร่างกาย เกิดบาดแผล การฉีกขาดของเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ หรือกระดูกหัก ที่เป็นผล
โดยตรงมาจากอุบัติเหตุ จนถึงขั้นพิการได้
การดึงตัวใดตัวหนึ่งออกท าให้โดมิโนตัวถัดไปไม่ล้ม ที่มา :
2. ทฤษฎีมูลเหตุเชิงซ้อน (Multiple Causation Theory) ถึงแม้ทฤษฎีโดมิโนของ
(Heinrich) จะใช้ป้องกนัแก้ไขการเกดิอุบตัเิหตุได้แต่ความถ่ีและความรุนแรงยงัไม่เป็น
ศูนย์ การมองอุบัติเหตุยังไม่ครอบคลุมลึกลงไปถึงสาเหตุที่แท้จริงต่างๆ จึงท าได้เพียงการ
แก้ไขสภาพการกระท าของคน ดังนั้นจึงมีการเสนอทฤษฎีมูลเหตุเชิงซ้อนของ แดน
ปีเตอร์สัน (Dan Peterson) 1971 จากหนังสือเรียนเทคนิคของการจัดการความปลอดภัย
(Technique of safety Management) ซึ่งกล่าวไว้ว่า อุบัติเหตุย่อมเกิดขึ้นได้จากเหตุ
ต่างๆ หลายอย่างซึ่งอยู่เบื้องหลัง และสาเหตุต่างๆ เหล่านั้นรวมกันมากเข้าย่อมท าให้เกิด
อุบัติเหตุได้ นอกจากนั้นยังได้เสนอว่าไม่ควรแก้ไขสภาพและการกระท าที่ไม่ปลอดภัย
เท่านั้น จะต้องคิดแก้ไขเบื้องหลังของสิ่งเหล่านั้น นอกจากนั้นยังแสดงให้เห็นว่าสภาพและ
การกระท าเป็นเพียงอาการที่ปรากฏให้เห็นได้จากความบกพร่องของระบบการท างาน แต่
ความบกพร่องหรือสาเหตุที่แท้จริงที่ท าให้เกิดอุบัติเหตุ คือ การบริหารและการจัดการ
ตัวอย่างเช่น อุบัติเหตุเกิดจากการตกบันไดของอาคารเรียนที่โรงเรียน หากเป็นการ
สอบสวนอุบัติเหตุตามแนวของทฤษฎีโดมิโนก็คือ
การกระท าที่ไม่ปลอดภัย คือ การใช้บันไดที่มีขั้นบันไดช ารุด
สภาพไม่ปลอดภัย คือ บันไดที่มีขั้นช ารุด
ข้อเสนอแนะในการแก้ไข คือ ก าจัดบันไดขั้นช ารุด ไม่น ามาใช้อีก
แต่ถ้าเป็นทฤษฎีมูลเหตุเชิงซ้อน อาจมีการวิเคราะห์สาเหตุของอุบัติเหตุโดยใช้
ค าถามว่า
1. ท าไมไม่มีการตรวจบันไดที่ช ารุดในขณะที่มีการตรวจปกติ
2. ท าไมยังปล่อยให้มีการใช้บันใดนี้
3. คนที่ตกบันไดหรือผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุนั้นรู้หรือไม่ว่าเขาไม่ควรใช้บันไดนี้
4. มีการจัดการอบรมเรื่องความปลอดภัยหรือไม่
5. ผู้เกี่ยวข้องยังคงไม่ใช้บันไดนั้นอีกหรือไม่
6. ผู้ควบคุมดูแลการท างานได้มีการตรวจสภาพแวดล้อมก่อนลงมือท างานหรือไม่
เมื่อได้มีการพิจารณาอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นท าให้ทราบถึงความบกพร่องต่างๆ ที่ท าให้
เป็นสาเหตุของอุบัติเหตุนั้น แล้วควรสรุปว่าควรแก้ไขดังนี้
1. ควรปรับปรุงการตรวจความปลอดภัย
2. ควรปรับปรุงการฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงาน
3. ควรก าหนดงานความรับผิดชอบให้ชัดเจน
4. ควรมีการวางแผน การนิเทศ การควบคุมการท างาน
โดยสรุปทฤษฎมีลู เหตุเชงิซอ้ นนนั้ เน้นการป้องกนัอุบตัเิหตุโดยการบรหิารจดัการ
โดยจัดให้มีองค์กรความปลอดภัย
สาเหตขุ องการเกิดอบุ ตัิเหตุจากการท างาน
อุบัติเหตุจากการท างานนั้นสามารถแบ่งออกเป็น 2 สาเหตุใหญ่ๆ คือ
1. สาเหตุจากการปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe act) เป็นการกระท าที่ไม่
ปลอดภัยของคนงานในขณะปฏิบัติงานเป็นผลท าให้เกิดอุบัติเหตุได้ถึงร้อยละ 88 ของ
อุบัติเหตุ เช่น
1.1 การใช้อุปกรณ์เครื่องมือที่เป็นเครื่องจักรกลต่างๆ โดยพลการหรือไม่
ได้รับมอบหมาย
1.2 การท างานที่มีอัตราเร่งความเร็วของงานและเครื่องจักรเกินก าหนด
1.3 การถอดอุปกรณ์ป้องกนัออกจากเครอ่ืงจกัรโดยไมม่ เีหตุอนัสมควร
1.4 การดูแลซ่อมบ ารุงอุปกรณ์เครื่องจักรในขณะที่ก าลังท างาน
1.5 การใช้เครื่องมืออุปกรณ์เครื่องจักรที่ช ารุดและไม่ถูกวิธี
1.6 ไม่ใส่ใจในค าแนะน าหรือค าเตือนความปลอดภัย
1.7 ท าการเคลื่อนย้ายหรือยกวัสดุที่มีขนาดใหญ่ มีน ้าหนักมาก ด้วยท่าทาง
หรือวิธีการที่ไม่ปลอดภัย
1.8 ไมส่ วมใสอ่ ุปกรณ์ป้องกนัอนัตรายสว่ นบุคคล
1.9 การคึกคะนองหรือเล่นตลกขณะท างาน
2. สภาพการท างานที่ไม่ปลอดภัย คือสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยโดยรอบตัว
ของผู้ปฏิบัติงานขณะท างานซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุได้ เช่น
2.1 เครอ่ืงจกัรทไ่ีมม่ อีุปกรณ์ป้องกนัอนัตราย
2.2 อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องจักรที่ออกแบบไม่เหมาะสมกับการใช้งาน
2.3 บริเวณพื้นที่ของการปฏิบัติงานไม่เหมาะสม
2.4 การจัดเก็บวัสดุสิ่งของอย่างไม่ถูกวิธี
2.5 การจัดเก็บสารเคมีหรือสารไวไฟที่เป็นอันตรายไม่ถูกวิธี
2.6 ไม่มีการจัดระเบียบและดูแลความสะดวกของสถานที่ท างานให้ถูกต้อง
ตามสุขลักษณะ
2.7 แสงสว่างไม่เพียงพอ
2.8 ไม่มีระบบระบายและถ่ายเทอากาศที่เหมาะสม
2.9 ไม่มีระบบเตือนภัยที่เหมาะสม
สาเหตขุ องการเกิดอบุ ตัิเหตุ
แนวทางการป้ องกันการประสบอันตราย
สถานประกอบการที่มีผู้ปฏิบัติงานทุกแห่ง จ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ความคุ้มครอง
ดูแล ส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนมีจิตส านึกในความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยเพื่อให้
สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีความสุขอยู่ในสังคมและสิ่งแวดล้อมร่วมกันได้อย่างสันติ
โดยปราศจากอันตรายใดๆ โดยการก าหนดมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายท่ี
เหมาะสมชัดเจนดังต่อไปนี้คือ
1. การก าหนดมาตรการความปลอดภัย โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการท างาน
ควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวข้องและผลกระทบต่างๆ ด้านความปลอดภัย เพื่อเป็นแนวทาง
ก าหนดมาตรฐานด้านความปลอดภัย เพื่อเป็นแนวทางส าหรับผู้เกี่ยวข้องในการก าหนด
ระเบียบปฏิบัติด้านความปลอดภัยของหน่วยงานอย่างชัดเจนเหมาะสม เช่น มาตรฐานใน
การผลิตอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ส าหรับงานอุตสาหกรรม การก าหนดหลักการปฏิบัติ
2. การตรวจความปลอดภัย โดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจัดให้มีเจ้าหน้าที่เพื่อท า
การตรวจด้านความปลอดภัยในการท างานตามที่ระบุไว้ตามกฎหมายอย่างเหมาะสม
ถูกต้อง เพื่อเป็นกฎข้อบังคับให้กับนายจ้าง สถานประกอบการให้ยึดปฏิบัติตามกฎหมาย
ความปลอดภัยและรับผิดชอบต่อสุขภาพและความปลอดภัยของคนงาน และให้ค าแนะน า
กระตุ้นการปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยอย่างสม ่าเสมอ
3. กฎหมายความปลอดภัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะอย่างยิ่งกรมแรงงาน
ควรได้มีการพิจารณาปรับปรุงกฎหมายด้านความปลอดภัยในการท างานให้มีขอบเขต
สอดคล้องเหมาะสมและคุ้มครองแรงงานได้อย่างเหมาะสมและมีการบังคับใช้อย่างจริงจัง
ทั้งทางด้านสภาพการท างานและสภาพแวดล้อมในการท างานของสถานประกอบการ
ด้านค่าตอบแทน การรักษาพยาบาล การตรวจสุขภาพ สวัสดิการต่างๆ เพื่อให้เกิดความ
ปลอดภัยในการท างานมากยิ่งขึ้น
4. การศึกษาวิจัยความปลอดภัย เพื่อการปรับปรุง พัฒนา งานวิชาการด้านความ
ปลอดภัยให้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยสูงสุด
5. ด้านการศึกษา สถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการท างาน
ควรมีการบรรจุวิชาการด้านความปลอดภัยเพิ่มในหลักสูตรการศึกษา เพื่อเป็นการวาง
พื้นฐานและสร้างทัศนคติที่ดีด้านความปลอดภัยให้เกิดมีขึ้นในผู้ศึกษาก่อนที่จะออกไปสู่
ตลาดแรงงาน
6. การฝึกอบรมด้านความปลอดภัย เพื่อสร้างเสริมความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
ดา้นความปลอดภยัในการป้องกนัอนั ตรายทอ่ีาจเกดิ ขน้ึระหว่างการปฏบิ ตังิาน พรอ้ มทงั้
สร้างจิตส านึกด้านความปลอดภัยให้เกิดมีขึ้นกับผู้ใช้แรงงานทุกคนทุกระดับ
7. การสร้างเสริมทัศนคติด้านความปลอดภัย ทุกองค์กรหน่วยงานควรจัดให้มีการ
รณรงค์ การสร้างเสริมทัศนคติที่ดี และจิตส านึกด้านความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง
สม ่าเสมอ
8. การก าหนดมาตรการความปลอดภัยในสถานประกอบการ เพื่อให้ทุกคนทุก
ฝ่ายปฏิบัติอย่างเคร่งครดั โดยมีการแต่งตัง้เจ้าหน้าท่ีหรือคณะกรรมการด้านความ
ปลอดภัยในการก าหนดกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์การ
ท างานอย่างต่อเนื่อง
9. การปรับปรุงสภาพการท างานและสิ่งแวดล้อมในการท างาน สถานประกอบการ
ควรมีการด าเนินการอย่างจริงจังเกี่ยวกับการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการท างาน เพื่อให้
เกิดความปลอดภัย เพื่อด ารงรักษาไว้ซึ่งการมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
เช่น การจัดระเบียบการท างานให้ถูกสุขลักษณะมีความปลอดภัยและสวัสดิการที่ดีขึ้น
10. การประกันการประสบอุบัติเหตุ หน่วยงานหรือสถาบันด้านการประกันการ
ประสบอันตรายควรมีส่วนร่วมในการส่งเสรมิ มาตรการการป้องกนัอุบตัเิหตุและโรคจาก
การท างานและเป็นการปฏิบัติอย่างจริงจัง
ขอบคุณข้อมูล อ้างอิงจาก
LuckyClub Lucky Club Casino Site 2021
ตอบลบLucky Club Casino is the only online luckyclub.live casino in Canada that accepts Bitcoin. Lucky Club online casino features a variety of payment methods to ensure you Rating: 9.2/10 · Review by LuckyClub.infoIs Lucky Club safe?Where can I play with my Bitcoin?